|
การบริหารความเสี่ยงของโครงการก่อสร้าง
การบริหารโครงการก่อสร้าง จำเป็นต้องมีการจัดการเชิงกลยุทธ์ในการเลือกโครงการ
โดยต้องมีความรู้ทั่วไปของการบริหารความเสี่ยงโครงการ
การวางแผนการบริหารความเสี่ยงของโครงการ สามารถระบุความเสี่ยงของโครงการ
ทั้งความเสี่ยงด้านการจัดการ ความเสี่ยงด้านกำหนดเวลาการดำเนินโครงการ
ความเสี่ยงด้านค่าใช้จ่าย และความเสี่ยงด้านเทคนิค โดยต้องพิจารณาค่าใช้จ่าย (Cost)
เวลา (Time) ขอบเขตของงาน คุณภาพ และผลงาน (Performance) โดยพิจารณาขนาดโครงการทั้ง
โครงการขนาดเล็ก โครงการขนาดกลาง โครงการขนาดใหญ่
ต้องอาศัยการตัดสินใจทางกลยุทธ์ธุรกิจ การตัดสินใจระดับโครงการ
และการตัดสินใจระดับกระบวนการ
ซึ่งขึ้นกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียและความคาดหวัง
สามารถวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งเทคนิคการวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพ โดยต้องมีการวางแผนแก้ไขปัญหาความเสี่ยงของโครงการ
การตรวจติดตามและการควบคุมความเสี่ยงของโครงการ
ทราบเกณฑ์ดัชนีชี้วัดความเสี่ยงของโครงการ
และลักษณะสำคัญของกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่ดี
จากความผันผวนจากปัจจัยภายนอกทั้งด้านวัสดุ น้ำมัน เหตุการณ์ทางการเมือง ห้างฯ
มีผู้บริหารที่สามารถบริหารความเสี่ยงได้อย่างเต็มรูปแบบ
เพื่อให้เกิดผลกระทบต่อโครงการน้อยที่สุด
วิธีการก่อสร้าง
|
Start up |
|
|
QA/QC Oraganization chart
|
|
ITP Schedule |
|
Step of quality testing andcheck list
|
|
Material approve arrangment
|
|
Method statement for major work/td>
|
Constructin period |
& |
|
Work inspection according to ITP
|
|
Mock-Up work |
|
Control and check material
|
|
OJI arrangement
|
|
NCR arrangement
|
|
Drawing control / Update |
Hand Over Period
|
  |
|
Defect list checking by Ritta
|
|
Punch list checking by consultant and Ritta
|
|
Partial Hand over
|
|
Project site hand over |
|
|
NCR : |
Non conforming record |
ITP : |
Internal test plan |
OJT :
|
On the job training |
|
|
|
การบริการ
การบริหารความเสี่ยง
วิธีการก่อสร้าง
หน้าหลัก |